ag9757.com

ag9757.com

การ พยาบาล Hypovolemic Shock

Hct 30-45% กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินภาวะสูญเสียเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอดหลังจากใส่ท่อระบายทรวงอก ดังนี้ 1. 1 ประเมินและบันทึกชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต ทุก 15 นาทีอย่างน้อย 4 ครั้ง ทุก 30 นาทีอย่างน้อย 2 ครั้ง และทุกชั่วโมงจนกว่าสัญญาณชีพจะปกติ 1. 2 ประเมินและบันทึกจำนวนสีและลักษณะของสิ่งระบายที่ออกมาทุกชั่วโมงอย่างน้อย 4 ครั้ง กรณีที่สิ่งระบายเป็นสารน้ำ หนอง ซีรั่ม ถ้าพบว่าสิ่งที่ระบายออกมาเปลี่ยนเป็นเลือดสด ร่วมกับผู้ป่วยมีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว และ/หรือไม่สม่ำเสมอ ให้รายงานให้แพทย์ทราบทันที 1. 3 ประเมินและบันทึกจำนวนสีลักษณะของเลือดที่ออกมา และควรรายงานแพทย์เมื่อมีเลือดออกมากกว่า 200 cc. / ชั่วโมง ติดต่อกัน 2 ชั่วโมงในช่วงเวลา 12 ชั่วโมงแรก หรือมีเลือดออกมากกว่า 100 cc. / ชั่วโมง ในช่วงเวลา 12 ชั่วโมงต่อมา ร่วมกับผู้ป่วยมีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว และ/หรือไม่สม่ำเสมอ ความดันโลหิตลดลงเรื่อย ๆ แม้จะได้รับเลือด มีเลือดออกมากกว่า 100 cc. / ชั่วโมง หลังจากใส่ท่อระบายทรวงอกเกิน 24 ชั่วโมงไปแล้ว 2. ประเมินและบันทึกภาวะสูญเสียโลหิตจากบาดแผลที่ใส่ท่อระบายทรวงอก โดยตรวจสอบทุก 4 ชั่วโมง ถ้าพบมีเลือดชุ่มจากแผลมากกว่าปกติ ให้รายงานแพทย์ 3.

Shock in trauma พญ.โสรัจณีย์ กาญจนประภาส | ข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับ hypovolemic shock การพยาบาล - SUN SQUARE

  • 170-322 การพยาบาลผู้ใหญ่ 2
  • Civic coupe 2000 ขาย
  • การ พยาบาล hypovolemic shock icd 10 code
  • การ พยาบาล hypovolemic shock treatment

เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวร่างกายช่วยเหลือตนเองได้ 2. เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคล เกณฑ์การประเมินผล 1. เคลื่อนไหวช่วยเหลือตนเองได้ 2. ร่างกายสะอาดดี ไม่มีคราบไคล 3. สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง กิจกรรมการพยาบาล 1. ดูแลช่วยเหลือให้ได้รับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 2. ดูแลช่วยเหลือให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายในการรับประทานอาหาร และได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ โดย - จัดหาโต๊ะคร่อมเตียงไว้สำหรับรับประทานอาหาร - จัดวางของใช้ให้สามารถหยิบได้สะดวก - ช่วยป้อนอาหาร กรณีช่วยเหลือตนเองได้น้อย 3. ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเกี่ยวกับการขับถ่าย ให้สามารถขับถ่ายได้ตามต้องการ และช่วยจัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด และป้องกันท้องผูก โดยแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมาก และดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ลิตร ถ้าไม่อยู่ในภาวะจำกัดน้ำ 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายและสามารถพักผ่อนได้เพียงพอ โดย 4. 1 จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบาย และไม่รบกวนผู้ป่วยบ่อย ๆ 4. 2 บรรเทาอาการปวดแผลบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก โดย - ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา - สอนให้ผู้ป่วยใช้มือ หมอน หรือผ้านุ่มกดบริเวณรอบแผลที่ใส่ท่อระบายทรวงอกเวลาหายใจอย่างลึก ๆ หรือไอ จาม - แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจลึก ๆ โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมถ้าปวดแผลมาก 5.

Icd 10 code

การ พยาบาล hypovolemic shock meaning

อ 10 04 2565 ปรับปรุงล่าสุด 04:00:00 PM search

การพยาบาล hypovolemic shock

วัด Vital sign ทุก 4 ชม. เพราะเป็นการประเมินสัญญาณชีพของร่างกายโดยเฉพาะความดันโลหิต ในเด็กถ้า BP ต่ำกว่า 80/50 mmHg แสดงถึงภาวะช็อคจากการขาดน้ำได้ 6. ติดตามผล Lab Na K เพราะ Na K เป็นค่าที่บ่งถึงเกลือแร่ภายในร่างกายและช่วยในการประเมินระดับความรุนแรงของภาวะขาดน้ำและอิเล็คโทรลัยท์ได้

shock in trauma พญ. โสรัจณีย์ กาญจนประภาส | ข่าวทั่วไปรายวัน [button color="primary" size="medium" link="#" icon="" target="false" nofollow="false"]ดูเลย[/button] สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ hypovolemic shock การพยาบาล หรือข่าวที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โปรดไปที่: การกระทำ shock in trauma พญ. โสรัจณีย์ กาญจนประภาส และรูปภาพที่เกี่ยวข้องhypovolemic shock การพยาบาล shock in trauma พญ. โสรัจณีย์ กาญจนประภาส hypovolemic shock การพยาบาล และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เอกสารประกอบการเรียน สามารถโหลดได้จากลิงค์. >>> สามารถหาข้อมูลที่น่าสนใจอื่นๆ ได้ที่นี่ เรา แบ่งปันที่นี่ #shock #trauma #พญโสรจณย #กาญจนประภาส. shock in trauma. shock in trauma พญ. โสรัจณีย์ กาญจนประภาส. hypovolemic shock การพยาบาล. เราหวังว่าคุณจะพบข้อมูลเกี่ยวกับ hypovolemic shock การพยาบาล ที่นี่ ขอบคุณที่รับชมเนื้อหานี้

Nursing Care Plan Knowledge : มีภาวะ Hypovolemic shock เนื่องจากเสียเลือดในทางเดินอาหารส่วนล่าง

น้ำ สังเกตและบันทึกจำนวนปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง หากปัสสาวะน้อยกว่า 30 มล. รายงานให้แพทย์ทราบ วัดความดันเลือดทุก 1 ชั่วโมง หาก Pulse pressure แคบกว่า 30 มม.
การ พยาบาล hypovolemic shock treatments

มีภาวะ Hypovolemic shock เนื่องจากเสียเลือดในทางเดินอาหารส่วนล่าง ข้อมูลสนับสนุน ผู้ป่วยถ่ายดำปนเลือด 3 ครั้ง ปัสสสาวะออกน้อย 1 ครั้ง BP = 85/45 mmHg hct = 29% (18/2/57) เป้าหมาย ไม่เกิดภาวะ Hypovolemic shock เกณฑ์การประเมินผล ไม่มีอาการแสดงของภาวะช็อค เช่น ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที BP ไม่ต่ำกว่า 90/60 mmHg จำนวนปัสสาวะมากกว่า 30 cc/hr ผลการตรวจ Hct ไม่ต่ำกว่า 30% กิจกรรมการพยาบาล 1. วัด Vital sign ทุก 1 ชม. และประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อค เช่น ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น เพราะเป็นการประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะชีพจร > 100 ครั้ง/นาที และ BP <90/60 mmHg แสดงถึงภาวะช็อคเพื่อจะได้ช่วยเหลือได้ทันท่วงที 2. ดูแลให้เลือด PRC 1 unit drip in 3 hr ตามแผนการรักษา เพราะการให้เลือดจะช่วยเพิ่มความเข้มข้นของเลือดซึ่งเป็นตัวนำออกซิเจน 3. ท่านอนศีรษะต่ำ เพราะช่วยให้เลือดไหลเวียนกลับสู่สมอง หัวใจได้สะดวก 4. ประเมินถ่ายเลือดปนดำ เพราะช่วยประเมินปริมาณ จำนวน เลือดที่ถ่ายปนเลือดทำให้ทราบถึงความรุนแรงของภาวะเลือดออก 5. บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออกทุกชั่วโมง เพราะถ้าจำนวนปัสสาวะน้อยกว่า 30 cc/hr แสดงถึงภาวะช็อค 6.

Sitemap | ฐาน เตียง นอน 6 ฟุต, 2024